ในทางการแพทย์การใช้ถ่ายเอกซเรย์ทั่วไปเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการวิเคราะห์รอยโรคเบื้องต้น แต่การใช้รังสีปริมาณต่าอาจเกิดผลต่อระดับเซลล์ได้ โดยในงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายศึกษาการตอบสนองของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิต้านทานของร่างกายต่อปริมาณรังสีที่ใช้สาหรับการถ่ายเอกซเรย์ทั่วไป
การทดลองนี้ได้นาทีเซลล์ลิมโฟไซต์ ที่ถูกเก็บมาจากกระแสเลือดของอาสาสมัครสุขภาพดีและแยกด้วยกระบวนการปั่นเหวี่ยง จากนั้นนาไปฉายรังสีโดยวัดระดับปริมาณรังสีได้ 0.4 ถึง 2.2 มิลลิเกรย์ ซึ่งอ้างอิงจาก เทคนิคการถ่ายเอกซเรย์ทั่วไปของ ทรวงอก ช่องท้อง กระดูกสักหลังส่วนเอว และ อุ้งเชิงกราน และเก็บผลการทดลอง ที่เวลา 24, 48, 72 และ 96 หลังจากการฉายรังสี
ผลการทดลองพบว่า ทีเซลล์ลิมโฟไซต์ (ซีดีสาม) จะมากที่สุดคือในชุดควบคุมและลดลดเมื่อเวลาผ่านไป 48 ชั่วโมง และเริ่มมีปริมาณเพิ่มขึ้นที่ระยะเวลา 72 และ 96 ชั่วโมง และพบว่าระหว่างชุดควบคุมและกลุ่มฉายรังสีมีมีความแตกต่างกัน โดยที่ปริมาณสูงๆ จะมีความแตกต่างจากชุดควบคุมมากที่สุด และผลต่อระดับ เซลล์ทีเฮลเปอร์ (ซีดีสี่) และ เซลล์ทีไซโตท็อกซิก (ซีดีแปด) มีความแตกต่างกันเมื่อทาการเลี้ยงที่ระยะเวลาต่างๆ รวมถึงปริมาณรังสีที่ให้กับเซลล์ โดยระดับของซีดีสี่ต่อซีดีแปดที่ระยะเวลา 72 และ 96 ชั่วโมงหลังจากฉายรังสี พบว่าปริมาณรังสีมีผลต่อระดับซีดีสี่ต่อซีดีแปด และพบว่าระหว่างชุดควบคุมและกลุ่มฉายรังสีมีความแตกต่างกัน และที่ 72 ชั่วโมง โดยปริมาณรังสีที่ 0.47 มิลลิเกรย์และ 0.71 มิลลิเกรย์ มีผลต่อระดับเซลล์ และที่ 96 ชั่วโมงพบความแตกต่างที่ปริมาณรังสีที่ 2.3 มิลลิเกรย์ ซึ่งเป็นปริมาณรังสีที่มากที่สุดในการทดลองมีผลโดยตรงกับระดับซีดีสี่ต่อซีดีแปด
สรุปการทดลองในครั้งนี้เกี่ยวกับผลจากรังสีวินิจฉัยปริมาณต่าที่มีต่อเซลล์ระบบภูมิคุ้มกันภายในร่างกาย ซึ่งทดลองในช่วงเวลา 24 ถึง 96 ชั่วโมง ซึ่งถือเป็นว่าช่วงเวลาระยะแรกของการทดลองและพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงและแตกต่างจากกลุ่มควบคุม ซึ่งผลดังกล่าวอาจจะส่งผลในระดับเซลล์ในอนาคต โดยเซลล์ภูมิคุ้มกันมีส่วนสาคัญในการป้องกันไม่ให้ระบบเซลล์ของร่างกายเสียหาย และการศึกษานี้อาจจะช่วยยืนยันว่าปริมาณรังสีต่าอาจะมีผลต่อเซลล์ การใช้รังสีโดยไม่จาเป็นอาจจะเกิดผลต่อร่างกายโดยตรงและทางอ้อม ความรู้จากการศึกษานี้จึงเป็นแนวทางสาหรับในการใช้รังสีที่เหมาะสมสาหรับนักรังสีเทคนิค และคานึงถึงความปลอดภัยต่อผู้ป่วย และยังลดความเสี่ยงจากรังสีโดยไม่จาเป็น
In medical practice, a general x-ray is necessary for the diagnostic. But using a low dose of radiation can effect on the cellular level. The aim of this work is to study the response of the cells involved in the body's immune system to the radiation dose form the general x-ray.
In this experiment, T-cell lymphocyte were collected from healthy volunteers. The whole blood were isolated and separated by density gradient centrifugation technique. Then were irradiated by the radiation dose level 0.4 to 2.2 mGy, referring general x-ray techniques of chest, abdomen, lumbar spine and pelvis. The experimental were collected at 24, 48, 72 and 96 times after irradiation.
The results were showed that T-cell lymphocyte (CD3) in control were found different from irradiation and the ratio of CD4/CD8 which were found to be different between control and radiation groups, and at 72 h, the radiation dose of 0.47 mGy and 0.71 mGy were found to effect cell level and at 96 h were found difference at 2.3 mGy which the highest radiation dose in the experiment.
Conclusion in this trial is the effect of low-dose radiation on the immune system cells in the body. In the 24 to 96 hour, the experiments were considered early phase were found to change and different from control. Such results may have effects at the cellular level. The knowledge of this study provides guidelines for the appropriate use of radiation for radiological technologists and consider the safety for patients and also reduce the risk of unnecessary radiation.