รายงานวิจัยเรื่องรูปแบบการติดตามประเมินผลผู้เข้ารับการบาบัดฟื้นฟูยาเสพติด: ศึกษากรณีการให้คำปรึกษาเฉพาะราย ในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ลาดหลุมแก้ว มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเสพติดที่ได้รับการบาบัดฟื้นฟูด้วยรูปแบบชุมชนบาบัดเพียงวิธีเดียว กับผู้ป่วยเสพติดที่ได้รับการบาบัดฟื้นฟูด้วยรูปแบบชุมชนบาบัดและการให้คาปรึกษาเฉพาะรายร่วมกัน เพื่อนาเสนอรูปแบบการพัฒนาเครือข่ายการติดตามประเมินผล และการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างภาครัฐรวมทั้งสานักงานคุมประพฤติท้องที่ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ด้านการบาบัดฟื้นฟูผู้ป่วยเสพติดเพื่อมิให้เสพซ้า โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการเล่าเรื่อง (Story telling) จากผู้ให้ข้อมูลสาคัญ คือ สมาชิกในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ลาดหลุมแก้ว และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับสมาชิกในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ลาดหลุมแก้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสมาชิกในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดลาดหลุมแก้ว ได้แก่ พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง ผู้อานวยการ นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยาพี่เลี้ยง พนักงานคุมประพฤติ ของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดลาดหลุมแก้ว และอาสาสมัครคุมประพฤติผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเสพติดที่ได้รับการบาบัดฟื้นฟูด้วยรูปแบบชุมชนบาบัดเพียงวิธีเดียว กับผู้ป่วยเสพติดที่ได้รับการบาบัดฟื้นฟูด้วยรูปแบบชุมชนบาบัดและการให้คาปรึกษาเฉพาะรายร่วมกัน พบว่า ผู้ป่วยเสพติดที่ได้รับการบาบัดฟื้นฟูทั้งสองรูปแบบมีโอกาสในการกลับไปเสพยาเสพติดซ้าทั้งสองรูปแบบ สามารถสรุปได้ว่า การบาบัดฟื้นฟูด้วยกระบวนการชุมชนบาบัดควรบาบัดร่วมกับการให้คาปรึกษาเฉพาะรายแก่สมาชิกทุกคนอย่างทั่วถึงและใกล้ชิด โดยการให้คาปรึกษาเฉพาะรายนั้น ควรจะให้คาปรึกษาเป็นระยะเวลาที่บ่อยครั้งและต่อเนื่องเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน
ตลอดช่วงระยะเวลาของการบาบัดฟื้นฟู เนื่องจากว่าจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วยเสพติดในช่วงที่มี
การให้คาปรึกษาเชิงลึกและการทากิจกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจให้เปลี่ยนแปลงตนเองไปในทิศทางที่ดีนั้น
พบว่า การให้คาปรึกษาเฉพาะรายสามารถจูงใจและเป็นแรงเสริมผู้ป่วยเสพติดให้ลด ละ เลิกยาเสพติดได้
แต่การให้คาปรึกษาเฉพาะรายเพียงแค่หนึ่งครั้งนั้นยังไม่สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงต่อตัวผู้ป่วยเสพติด
หรือสร้างแรงจูงใจให้ผู้ป่วยเสพติดไม่หวนกลับไปเสพซ้าได้ทุกคน จะมีเพียงแค่ผู้ป่วยเสพติดบางคนที่มี
ความตั้งใจอย่างแน่วแน่และมีความตั้งมั่นว่าจะเอาชนะใจตนเอง กลับไปอยู่กับครอบครัวอย่างมีความสุข
โดยที่จะไม่หวนกลับไปใช้ยาเสพติดอีก และ (2) รูปแบบการพัฒนาเครือข่ายการติดตามประเมินผล และ
การปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างภาครัฐรวมทั้งสานักงานคุมประพฤติท้องที่ ภาคเอกชน และภาคประชา
สังคม ด้านการบาบัด ฟื้นฟูผู้ป่วยเสพติดเพื่อมิให้เสพซ้า พบว่า แต่ละหน่วยงานได้ดาเนินการจัดทา
กิจกรรมแก้ไขบาบัดฟื้นฟูแบบต่างคนต่างทา ขาดการบูรณาการการทางานร่วมกัน ด้วยเหตุนี้เองเมื่อผู้ป่วยเสพติดพ้นจากการบาบัดฟื้นฟูจากศูนย์ฟื้นฟูฯ ลาดหลุมแก้วแล้ว แม้จะต้องไปรายงานตัวที่สานักงานคุมประพฤติท้องที่ตามระยะเวลาที่กาหนดก็ตาม แต่ยังขาดระบบการติดตามประเมิน ผล
อย่างต่อเนื่องและไม่มีรูปธรรมที่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ได้แก่ (1) การเพิ่มนโยบายเกี่ยวกับการบูรณาการร่วมกับของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) การสร้างฐานข้อมูลเกี่ยวกับการบาบัดฟื้นฟูและการติดตามประเมินผลหลังได้รับการปล่อยตัวที่เชื่อมโยงกันไว้ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศออนไลน์ (3) การปรับ
กฎหมายให้มีมาตรการรุนแรงต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด (4) กาหนดนโยบายเพิ่มระยะเวลาการ
บาบัดฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในหลักการของการบาบัดรูปแบบชุมชนบาบัด (5) กาหนดนโยบายการ
ติดตามประเมินผลผู้ป่วยเสพติดหลังได้รับการปล่อยตัวร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม (6) กาหนดนโยบายการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและติดตามดูแลผู้ป่วยเสพติดของศูนย์ฟื้นฟูฯ ลาดหลุมแก้วข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ ได้แก่ (1) ในการบาบัดฟื้นฟูโดยใช้กระบวนการชุมชนบาบัด ทางศูนย์
ฟื้นฟูฯ ลาดหลุมแก้วควรคัดเลือกผู้บาบัดในการเข้าบาบัดฟื้นฟูตามเกณฑ์ของวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดลาดหลุมแก้ว (2) ควรจัดอบรม และพัฒนาทักษะการให้คาปรึกษาแก่
เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ฟื้นฟูฯ ลาดหลุมแก้ว (3) การเพิ่มจานวนบุคลากรให้เพียงพอต่อจานวนผู้ป่วยเสพติด
ที่เข้ารับการบาบัดฟื้นฟู (4) ฝึกอาชีพให้แก่ผู้ป่วยเสพติดให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
(5) ศูนย์ฟื้นฟูฯ ลาดหลุมแก้วควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับโรงงานหรือบริษัทต่าง ๆ (6) สร้างเครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็งกับทุกภาคส่วนในการร่วมมือบาบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด (7) จัดทำฐานข้อมูลออนไลน์แลกเปลี่ยนร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (8) การให้คาปรึกษาเฉพาะรายควรทำอย่างต่อเนื่องและเป็นระยะเวลาที่ยาวนานอย่างใกล้ชิดทุกราย
 
This research aims to compare the quality of life of two groups of addicted patients: those treated with only assertive community treatment and those treated with a combination of assertive community treatment and individual counselling and to propose the establishment of a follow-up care network and collaborative operations participated by the public sector including provincial probation offices, the private sector, and the civil society to prevent relapse. The research was conducted using qualitative methodology. Data were collected through in-depth interviews and story telling. The key informants were members of the Drug Addicts Rehabilitation Center, Department of Probation, Lat Lum Kaew, Pathumthani Province, and those related including parents as well as the director, social workers, psychologists, and probation officers working for the center, and probation volunteers.
The result revealed that (1) both treatment methods could trigger a relapse. Therefore, not only should addicted patients be treated with assertive community treatment, but also each individual addicted patient should be treated with long-term and continuous individual counselling conducted timely for each individual addicted patient throughout the rehabilitation period. Moreover, observing the patient the individual counselling and their participation in rehabilitation activities, it was found that individual counselling could encourage and motivate them to reduce or quit drugs. Individual counselling conducted only one time could not result in behavioural change or promote such motivation in all patients; only determined patients could return to their family, living with others happily. In addition, in terms of collaboration among
sectors, it was found that (2) all sectors had their own rehabilitation plans through lack of collaboration and integrated operations. For this reason, when a patient is discharged and allowed to live with the family, timely follow-ups could be difficult due to lack of 
effective follow-up plans.
The research proposed the implementation of the policies as follows: (1) the encouragement of collaboration among all sectors, the operation of which is related to rug abuse prevention, (2) the application of online databases for effective follow-ups after rehabilitation, (3) the amendment of legal penalties against drug-related offenders, (4) the extension of rehabilitation periods to meet the assertive community treatment standards, (5) the development of concrete follow-up plans together with other related organisations, and (6)the implementation of effective discharge and follow-up planning.
The research also proposed practices as follows: (1) the recruitment of patients to receive rehabilitation services based on the center’s recruitment objectives, (2) the provision of training in counselling for the officers, (3) the recruitment of a sufficient number of officers to meet the number of patients, (4) the promotion of job training for addicted patients that meets labor market needs, (5) the promotion of networking collaboration with all sectors in rehabilitating addicted patients, (6) the sharing and exchange of information via online database among related organizations, and (7) the practice of continuous and long-term individual counselling for each individual addicted patient.