งานวิจัย เรื่อง การออกแบบและสร้างเครื่องวัดระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้านี้ สามารถวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดจากบริเวณปลายนิ้วนี้ ใช้หลักการดูดกลืนแสงของเบียร์ แลมเบิร์ต โดยการดูดกลืนแสงอินฟราเรดย่านใกล้ของน้าตาลในเลือด วิธีการ Photoplethysmogram (PPG) และอิเล็กทรอนิกส์ ในการออกแบบและสร้างเครื่องใช้หลอดแอลอีดีแสงอินฟราเรดย่านใกล้ที่ความยาวคลื่น 950 นาโนเมตร และแสงสีแดงที่ความยาวคลื่น 630 นาโนเมตรเป็นแหล่งกาเนิดแสง และใช้โฟโตไดโอดเป็นตัวรับแสง ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล Arduino รุ่น NANO 3.0 Mini USB เป็นอุปกรณ์ประมวลผลสัญญาณ สามารถวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดได้แม่นยาใรช่วง 70-130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และสามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจในหน่วยจานวนครั้งต่อนาทีได้ โดยกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่รักษาในคลินิกเบาหวาน ณ คลินิคเบาหวาน หน่วยต่อมไร้ท่อ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจานวน 315 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ T-Test ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS
ผลการวิจัยพบว่า
1. เครื่องที่ได้ออกแบบและสร้างมีความเที่ยงตรงในการวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดได้ในช่วง 75 ถึง 289 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร โดยมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเฉลี่ยเท่ากับ 2.90 และมีความแม่นยาในช่วงตั้งแต่ 75 ถึง 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร โดยมีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเท่ากับ 3.18% ค่าระดับน้าตาลในเลือดในช่วงตั้งแต่ 131 ถึง 289 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร มีความแม่นยาลดลง โดยมีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเท่ากับ 22.14% และค่าระดับน้าตาลในเลือดได้ในช่วงตั้งแต่ 75 289 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร มีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเท่ากับ 10.76%
2. ผลการทดสอบความถูกต้องจากการวัดอัตราการเต้นของหัวใจของเครื่องวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้าเทียบกับการวัดอัตราการเต้นหัวใจของด้วยเครื่องมอนิเตอร์สัญญาณชีพ พบว่า มีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเทียบกับเครื่องมอนิเตอร์สัญญาณชีพ เท่ากับ 2.94%
3. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องวัดระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้า โดยการเปรียบเทียบนัยสาคัญทางสถิติของเครื่องวัดระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้าเทียบกับค่าระดับน้าตาลในเลือดจากผลตรวจเลือดจากที่ห้องชันสูตรโรค หน่วยพยาธิวิทยา โรงพยาบาลวชิรพยาบาล โดยการวิเคราะห์แบบ T-TEST ทดสอบค่านัยทางสถิติที่ระดับไม่เกิน 0.05 (p<0.05) พบว่า เครื่องวัดระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้าวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดได้ต่ากว่าโดยมีความแตกต่างกันอย่างมีทางสถิติ (p=0.135)
4. ผลการทดสอบระบบการส่งผ่านข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง สามารถแสดงผลค่าระดับน้าตาลในเลือดบนคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟนได้ ซึ่งจะแสดงผลค่าระดับน้าตาลในเลือดเหมือนกันโดยผ่านเว็บแอพลิเคชั่น ที่ URL: http://bmi.rsu.ac.th/dssh/index.php
ผลการวิจัยพบว่า
1. เครื่องที่ได้ออกแบบและสร้างมีความเที่ยงตรงในการวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดได้ในช่วง 75 ถึง 289 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร โดยมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเฉลี่ยเท่ากับ 2.90 และมีความแม่นยาในช่วงตั้งแต่ 75 ถึง 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร โดยมีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเท่ากับ 3.18% ค่าระดับน้าตาลในเลือดในช่วงตั้งแต่ 131 ถึง 289 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร มีความแม่นยาลดลง โดยมีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเท่ากับ 22.14% และค่าระดับน้าตาลในเลือดได้ในช่วงตั้งแต่ 75 289 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร มีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเท่ากับ 10.76%
2. ผลการทดสอบความถูกต้องจากการวัดอัตราการเต้นของหัวใจของเครื่องวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้าเทียบกับการวัดอัตราการเต้นหัวใจของด้วยเครื่องมอนิเตอร์สัญญาณชีพ พบว่า มีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยเทียบกับเครื่องมอนิเตอร์สัญญาณชีพ เท่ากับ 2.94%
3. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องวัดระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้า โดยการเปรียบเทียบนัยสาคัญทางสถิติของเครื่องวัดระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้าเทียบกับค่าระดับน้าตาลในเลือดจากผลตรวจเลือดจากที่ห้องชันสูตรโรค หน่วยพยาธิวิทยา โรงพยาบาลวชิรพยาบาล โดยการวิเคราะห์แบบ T-TEST ทดสอบค่านัยทางสถิติที่ระดับไม่เกิน 0.05 (p<0.05) พบว่า เครื่องวัดระดับน้าตาลในเลือดชนิดไม่รุกล้าวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดได้ต่ากว่าโดยมีความแตกต่างกันอย่างมีทางสถิติ (p=0.135)
4. ผลการทดสอบระบบการส่งผ่านข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง สามารถแสดงผลค่าระดับน้าตาลในเลือดบนคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟนได้ ซึ่งจะแสดงผลค่าระดับน้าตาลในเลือดเหมือนกันโดยผ่านเว็บแอพลิเคชั่น ที่ URL: http://bmi.rsu.ac.th/dssh/index.php
This project is about the design and construction of a non-invasive blood glucose meter that can measure blood sugar level from the fingertip. The project used the principle of light absorption known as Beer – Lambert law to measure near-infrared light absorbance of blood glucose in a photoplethysmogram (PPG) using opto-electronics. In the design and construction of the device, a near-infrared LED at a wavelength of 950nm and red LED at a wavelength of 630nm were used as light sources and a photodiode was used as a light receiver. The Arduino NANO 3.0 Mini USB microcontroller was used as a signal processing device. The device is able to accurately measure blood sugar levels in the range of 70 to 130 milligrams per deciliter and can also measure heart rate in beat per minute unit. The sample group in this research was 315 diabetic patients of a diabetes clinic at the Endocrine Unit, Faculty of Medicine, Vajira Hospital. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and T-Test with SPSS program.
The results of the project were as the following,
1. The non-invasive blood glucose meter accurately measures blood sugar levels in the range of 75 to 289 mg/dL, with standard deviation equal to 2.90. The range of 75 to 130 mg/dL showed 3.18% error, which increased in the range of 131 to 289 mg/dL, up to 22.14%. Overall blood glucose measurements in range of 75 to 289 mg/dL, demonstrated an average percentage of 10.76%.
2. Heart rate measurements from the non-invasive blood glucose meter showed a mean percentage error of 2.94% compared with a clinical vital signal monitor.
3. The performance test of the non-invasive blood glucose meter was analyzed by comparing with standard blood tests performed at the diagnostic laboratory, Pathology Unit, Vajira Hospital. Results from a T-TEST revealed that there was not a statistically significant difference between the blood glucose measurements using the two measurement techniques (p<0.05). Although reading from the non-invasive blood glucose meter were lower than the blood glucose level from the standard blood test, this was not a significant difference (p= 0.135).
4. The test results of data transmission system using internet of things technology found that the value of blood glucose can displayed on a computer screen and the smartphone screen, accessed through a web application at http://bmi.rsu.ac.th/dssh/index.php
The results of the project were as the following,
1. The non-invasive blood glucose meter accurately measures blood sugar levels in the range of 75 to 289 mg/dL, with standard deviation equal to 2.90. The range of 75 to 130 mg/dL showed 3.18% error, which increased in the range of 131 to 289 mg/dL, up to 22.14%. Overall blood glucose measurements in range of 75 to 289 mg/dL, demonstrated an average percentage of 10.76%.
2. Heart rate measurements from the non-invasive blood glucose meter showed a mean percentage error of 2.94% compared with a clinical vital signal monitor.
3. The performance test of the non-invasive blood glucose meter was analyzed by comparing with standard blood tests performed at the diagnostic laboratory, Pathology Unit, Vajira Hospital. Results from a T-TEST revealed that there was not a statistically significant difference between the blood glucose measurements using the two measurement techniques (p<0.05). Although reading from the non-invasive blood glucose meter were lower than the blood glucose level from the standard blood test, this was not a significant difference (p= 0.135).
4. The test results of data transmission system using internet of things technology found that the value of blood glucose can displayed on a computer screen and the smartphone screen, accessed through a web application at http://bmi.rsu.ac.th/dssh/index.php