ชื่อผู้วิจัย | คณะ | ||
---|---|---|---|
1 | ดร.สุกัลญา หลีแจ้ | วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก | ผลของเจลต้านสิวที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากเห็ดเรืองแสง (Neonothopanus nambi) ต่อการลดปัจจัยในการก่อสิวของเชื้อ Staphyloccus spp. |
2 | ผศ.กฤตพร ลาภพิมล | คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | แผนผังพัฒนาพื้นที่สถานีขนส่งมวลชนและบริเวณโดยรอบตามแนวคิด Transit Oriented Development : กรณีศึกษาสถานีรถไฟฟ้าหลักหกและบริเวณโดยรอบ |
3 | ผศ.ดร.พัฒน์ พิสิษฐเกษม | คณะบริหารธุรกิจ | ทรัพยากรองค์การที่มีผลต่อความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโลจิสติกส์และผลกระทบที่มีต่อประสิทธิภาพของอุตสาหกรรมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย |
4 | อ.ปฐมาภรณ์ ปฐมภาค | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโตและกรดอะมิโนไทโรซีนในการชักนำแคลลัสมะกอก และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารโอลิวโรพีน |
5 | รศ.ดร.นริศา คำแก่น | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารสำคัญปริมาณสูงในพืชกัญชา |
6 | อ.วรวรรณ สายงาม | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | การพัฒนาตำรับสเปรย์ฉีดพ่นในช่องปากจากสารสกัดกัญชา |
7 | ดร.ปิยภรณ์ ชูชีพ | คณะบริหารธุรกิจ | ปัจจัยความสำเร็จ และคุณลักษณะของผู้ประกอบการ ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จขององค์การธุรกิจเกษตรในประเทศไทย |
8 | อ.จิตรดี ลุประสงค์ | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | การพัฒนาตำรับระบบกระจายตัวของพอลิเมอร์ก่อฟิล์มที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากบัวบกเพื่อใช้ทางผิวหนัง |
9 | ดร.อรวรรณ เฑียรฆ์พงษ์ | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของน้ำมันระเหยง่ายจากเหง้าของพืชในสกุล Curcuma ในประเทศไทย |
10 | อ.ตุลย์ ชูสุทธิ์ | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | การพัฒนาแป้งฝุ่นผัดหน้าจากแป้งเท้ายายม่อมและการประเมินประสิทธิภาพในการควบคุมความมันบนใบหน้าของตำรับ |
11 | อ.ธีรกัญญา ตั้งสุวรรณรังษี | วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ | พัฒนาผลิตภัณฑ์พาสต้าเสริมเส้นใยและสารอาหารจากแป้งถั่วขาวทดแทนแป้งสาลีบางส่วน |
12 | อ.คชารัตน์ ปรีชล | คณะพยาบาลศาสตร์ | การพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติทางการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในชุมชนตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี |
13 | ผศ.วนิดา โอศิริพันธุ์ | คณะเทคโนโลยีอาหาร | การพัฒนาเนื้อลองกองอบแห้งแบบระเหิด |
14 | ดร.ขวัญหทัย แช่ทอง | คณะเทคโนโลยีอาหาร | การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำพริกผัด |
15 | ดร.ภัททวัฒน์ มณีวัฒนภิญโญ | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | สารสกัดหอมแดงบรรจุในอนุภาคนาโนไขมันสำหรับประยุกต์ใช้ทางเวชสำอางโดยใช้วิธีไมโครอิมัลชัน |
16 | ผศ.ดร.พรรณนภา เภาทอง | คณะเทคนิคการแพทย์ | การศึกษาคุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติกของพืชธรรมชาติในประเทศไทย |
17 | ดร.อภิรัตน์ กังสดารพร | วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม | ภาวะผู้นำและวิธีการให้คำปรึกษาแนะนำที่พึงประสงค์: กรณีศึกษาผู้ให้คำปรึกษาในศูนย์ให้คำปรึกษาแนะนำและประสานการประชุมเพื่อแก้ไข บำบัด ฟื้นฟูเด็ก เยาวชนและครอบครัว ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดใกล้เคียง |
18 | ผศ.ดร.สัญญพงศ์ ลิ่มประเสริฐ | คณะนิติศาสตร์ | การลดความเหลื่อมล้ำด้านการเข้าถึงความยุติธรรมในสังคมไทยโดยยุติธรรมชุมชน |
19 | ผศ.ดร.สุพัฒน์ มูลสิน | คณะวิทยาศาสตร์ | การเตรียมน้ำยางธรรมชาติโปรตีนต่ำด้วยสารเคมีและการประยุกต์ใช้งาน |
20 | ผศ.มานะ เงินศรีสุข | คณะบริหารธุรกิจ | พฤติกรรมและทัศนคติทางการเงินของคนไทย : กรณีศึกษาเฉพาะเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
21 | อ.ลุกมาน สือรี | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | ประสิทธิภาพของกากน้ำตาลจากอ้อยต่อจุลินทรีย์โปรไบโอติกส์ |
22 | อ.ภิมุข จันทร์งาม | คณะบัญชี | การประเมินผลตอบแทนทางสังคมแบบชุมชนมีส่วนร่วมของการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเกาะกก เทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง |
23 | ผศ.ดร.รัตพงษ์ สอนสุภาพ | วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม | เศรษฐกิจผิดกฎหมายกับการฟอกเงินในประเทศไทย |
24 | ผศ.ดร.ดวงทิพย์ เจริญรุกข์ | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมและการปรับตัวของนักศึกษาจีนที่เข้ามาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเอกชนของประเทศไทย |
25 | รศ.ดร.วิมล ชอบชื่นชม | คณะเทคนิคการแพทย์ | การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของจุลชีพในการสร้าง Polyhydroxylalkanoate-co polymer โดย fed batch fermentation |
26 | ดร.ศรัณย์ ธิติลักษณ์ | วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม | เศรษฐกิจใต้ดินที่ผิดกฎหมาย: กรณีศึกษาธุรกรรมบ่อนขนาดเล็กในชุมชน |
27 | อ.ภัททวัฒน์ | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | การเตรียมสารสกัดหอมแดงบรรจุในอนุภาคนาโนไขมันสาหรับประยุกต์ใช้ทางเวชสาอาง |
28 | ผศ.วนิดา | คณะเทคโนโลยีอาหาร | การพัฒนาเนื้อลองกองอบแห้งแบบระเหิด |
29 | อาจารย์วรวรรณ | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | การพัฒนาตารับสเปรย์ฉีดพ่นในช่องปากจากสารสกัดกัญชา |
30 | ดร.สุริยะใส | วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม | บทบาทของมหาวิทยาลัยรังสิตกับการขับเคลื่อนสังคมธรรมาธิปไตย |
31 | ผศ.ดร.พัฒน์ | คณะบริหารธุรกิจ | ทรัพยากรองค์การที่มีผลต่อความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโลจิสติกส์และผลกระทบที่มีต่อประสิทธิภาพของอุตสาหกรรมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย |
32 | ผศ.ดร.พรรณนภา | คณะเทคนิคการแพทย์ | การศึกษาคุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติกของพืชธรรมชาติในประเทศไทย |
33 | ดร.ปิยภรณ์ | คณะบริหารธุรกิจ | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการจัดการความรู้ขององค์การธุรกิจเกษตรในประเทศไทย |
34 | อาจารย์ลุกมาน | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | ประสิทธิภาพของกากน้าตาลจากอ้อยต่อจุลินทรีย์โปรไบโอติกส์ |
35 | ดร.สุกัญญา | วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก | ผลของเจลต้านสิวที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากเห็ดเรืองแสง (Neonothopanus nambi) ต่อปัจจัยในการก่อสิวของเชื้อ Staphylococcus spp. |
ชื่อผู้วิจัย | คณะ | ||
---|---|---|---|
1 | อ.ทพญ.สปัน เล็งเลิศผล | วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ | ผลของสารทำความสะอาดฟันเทียมชนิดเม็ดต่อการกำจัดคราบชาของฐานฟันปลอมชนิดพอลิเอไมด์ |
2 | ผศ. มุกดา โควหกุล | คณะบริหารธุรกิจ | การตัดสินใจลงทุนด้านกองทุนของนักลงทุนไทย |
3 | ผศ.ดร.สุรางค์ ลีละวัฒน์ | วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ | ผลของ ∆9-tetrahydrocannabinol จากต้นกัญชา ต่อการยับยั้งมะเร็งทางเดินน้ำดี ในสัตว์ทดลอง |
4 | รศ.ดร.กัญญนันทน์ กฤษศิริวุฒินันท์ | คณะเทคนิคการแพทย์ | การประเมินประสิทธิภาพการเป็นแอนติเจน ของโปรตีนลูกผสม GroEL ของเชื้อ Burkholderia pseudomallei เพื่อวินิจฉัยโรคเมลิออยด์ โดย indirect ELISA plate, Dot blot ELISA และ indirect hemagglutination assay |
5 | อ.พัชร พิลึก | คณะบริหารธุรกิจ | การพยากรณ์การตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร |
6 | ดร.พรรณรัตน วรรณสวัสดิ์กุล เคดิช | วิทยาลัยครูสุริยเทพ | ทักษะที่จำเป็น: ทำไมปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตจึงจำเป็นกับผู้บริหารสถานศึกษา |
7 | ผศ.ทพ.ดร.ตุลย์ ศรีอัมพร | วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ | ผลของสารสะเทินที่พัฒนาขึ้นใหม่ต่อค่าแรงยึดเฉือนและลักษณะพื้นผิวของเฟลสปาติกพอร์สเลนที่ถูกกัดด้วยกรดไฮโดรฟลูออริก |
8 | ศ.ทญ.ละอองทอง วัชราภัย | วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ | การประเมินเรซินมอดิฟายด์กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ต้นแบบ RU-HBM1 ทางคลินิก |
9 | ผศ.ดร.พลเรือตรี วิโรจน์ พิมานมาศสุริยา | วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม | โครงการวิจัยการบริหารเชิงกลยุทธ์ประเทศไทยของรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง |
10 | ผศ.แน่งน้อย บุญยเนตร | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | กลยุทธ์การตั้งชื่อตราสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาวในประเทศไทย |
11 | อ.พรทิพย์ เพลินศิลป์ | คณะเทคนิคการแพทย์ | ผลของสารสกัดย่านางแดงต่อการเคลื่อนที่และการตายแบบอะพอพโทซิสของเซลล์มะเร็งตับชนิด HepG2 |
12 | ผศ.ดร.ธเนศ พงศ์ธีรัตน์ | คณะวิทยาศาสตร์ | ความแปรผันของจำนวนชุดดีเอ็นเอของยีน Glutathione –S- transferase ชนิด M1 และ T1 ในผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับชาวไทย |
13 | ผศ.ดร.มงคล เทียนประเทืองชัย | คณะนิติศาสตร์ | หลักการตีความกฎหมาย : กรณีศึกษา ผู้ประกอบกิจการ ในพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ |
14 | ผศ.แน่งน้อย | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | กลยุทธ์การตั้งชื่อตราสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาวในประเทศไทย |
15 | ดร.ปาจรีย์ | คณะบริหารธุรกิจ | พฤติกรรมการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ของประชากรในเขตกรุงเทพและปริมณฑล |
16 | อ.ทพญ.สปัน | วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ | ผลของสารทำความสะอาดฟันเทียมชนิดเม็ดต่อการกำจัดคราบชาของฐานฟันปลอมชนิดพอลิเอไมด์ |
17 | รศ.ดร.กัญญนันทร์ | คณะเทคนิคการแพทย์ | การประเมินประสิทธิภาพการเป็นแอนติเจน ของโปรตีนลูกผสม GroEL ของเชื้อ Burkholderia pseudomallei เพื่อวินิจฉัยโรคเมลิออยด์ โดย indirect ELISA plate, Dot blot ELISA และ indirect hemagglutination assay |
18 | ผศ.ดร.มงคล | คณะนิติศาสตร์ | หลักการตีความกฎหมาย : กรณีศึกษา ผู้ประกอบกิจการ ในมาตรา 38 และมาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. 2551 |
ชื่อผู้วิจัย | คณะ | ||
---|---|---|---|
1 | อ.ชัชญา สกุณา | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | ปัจจัยพยากรณ์ความน่าเชื่อถือและความดึงดูดใจของแหล่งสารต่อพฤติกรรมการบริโภคผ่านการสื่อสารการตลาดแบบ Unbranded Facebook Fanpage |
2 | รศ.ดร.กฤษณ์ ทองเลิศ | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | ภาพสตรีทอาร์ตเพื่อการสื่อสารการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ย่านเมืองเก่าปีนังและสงขลา |
3 | อาจารย์ธีร์ นภินธากร | คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | ปัจจัยสนับสนุนทางสถาปัตยกรรมที่ส่งผลต่อความสำเร็จของธุรกิจ Hostel |
4 | อาจารย์วาจวิมล เดชเกตุ | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | วิเคราะห์ตัวละครหลักภาพยนตร์ไทยผลงานกำกับโดย บรรจง ปิสัญธนะกูล |
5 | อ.ขวัญชนก โชติมุกตะ | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | การกำกับการแสดงละครเพลงต่อนักเรียนชั้นมัธยมต้น เรื่อง พ่อมดอ๊อส ณ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรังสิต |
6 | ผศ.ดร.สรพงษ์ วงศ์ธีระธรณ์ | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | ค่านิยมทางสังคมและการสร้างความหมายที่สะท้อนผ่านข่าวกีฬาโอลิมปิก 2016 ในหนังสือพิมพ์ไทย |
7 | อ.ทญ.หทัยชนก เจริญพงศ์ | วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ | ผลของไอออนโลหะที่ปลดปล่อยจากมินิสกรูต่อการสร้างและทำงานของเซลล์สลายกระดูก |
8 | อ.วรวุฒิ อ่อนน่วม | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | การเคลื่อนกล้องเพื่อสื่อความหมายของรายการสารคดีท่องเที่ยววิวไฟน์เดอร์ |
9 | อ.ทพ.ทักษ์สิทธิ์ จรัสแสงไพศาล | วิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ | ผลของสารทำความสะอาดพื้นผิวและเรซินซีเมนต์ต่อค่ากำลังยึดเฉือนของเซอร์โคเนียที่มีการปนเปื้อนพื้นผิว |
10 | ดร.ภูมภัสส์ พุทธ์ผดุงวิพล | คณะเทคนิคการแพทย์ | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานของเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดที่เปลี่ยนไปกับการเกิดภาวะเครียดออกซิเดชันในแรงงานภาคการเกษตรเพื่อนำไปสู่แนวทางป้องกัน |
11 | อ.ตรีรัตน์ นิลรัตน์ | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง |
12 | อ.จิรพร รักษาพล | คณะศิลปศาสตร์ | การศึกษาการออกเสียงภาษาไทยของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยรังสิต |
13 | อ.พรนภา แก้วลาย | วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ | การปรับตัวของผู้ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่การออกอากาศออนไลน์ |
14 | ผศ.ดร.นิ่มนวล วิเศษสรรพ์ | คณะบัญชี | ศึกษาเปรียบเทียบขั้นของการใช้เครื่องมือทางบัญชีบริหารของอุตสาหกรรมไทยขนาดใหญ่ตามแนวคิดของสมาพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศเรื่องวิวัฒนาการของการบัญชีบริหาร และผลการดำเนินงานของธุรกิจ |
15 | อ.ชนิดาภา วงศ์รักษา | คณะพยาบาลศาสตร์ | ประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพ ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการออกกำลังกายน้ำหนักตัวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย |
16 | อาจารย์อนันตศักดิ์ | วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ | เครื่องเลื่อยกระดูกสำหรับการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา |
17 | อาจารย์โกเมศ | คณะดิจิทัลอาร์ต | การศึกษารูปทรงเพื่อสร้างงานประติมากรรม Art Toy |
18 | ว่าที่ ร.ต.พิชิตพล | คณะวิศวกรรมชีวการแพทย์ | การศึกษาออกแบบและสร้างอุปกรณ์ช่วยเดินฟื้นฟูการหัดเดินอัจฉริยะอัตโนมัติ |
19 | รศ.ดร.สื่อจิตต์ | คณะวิศวกรรมชีวการแพทย์ | อุปกรณ์ตรวจและถ่ายภาพช่องคอแบบดิจิตอลและพกพาได้ |
20 | รศ.นันทชัย | วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ | การออกแบบเก้าอี้รถเข็นไฟฟ้าอัจฉริยะ |
21 | รศ.ยุพกนิษฐ์ | คณะเทคโนโลยีอาหาร | การผลิตโปรตีนละลายได้เพื่อเป็นเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากข้าวมอลต์เสริมด้วยกากรำสกัด |